สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ

4.2 สมบัติของจำนวนจริงเกี่ยวกับการบวกและการคูณ
    1) สมบัตของการเท่ากันในระบบจำนวนจริง
         เมื่อ a, b เป็นจำนวนจริงใดๆ
(1)      สมบัติการสะท้อน a = a
(2)      สมบัติการสมมตรา ถ้า a = a แล้ว b = c
(3)      สมบัติการถ่ายทอด ถ้า a = a และb = c แล้ว a = c
(4)      สมบัติการบวกด้วยจำนวนที่เท่ากัน ถ้า a = b แล้ว a+c = b+ c
               (5) สมบัติการคูณด้วยจำนวนที่เท่ากัน ถ้า  a =  b แล้ว ac = bc
    2) สมบัติการบวกและการคูณจำนวนจริง
            ถ้า a, b, c เป็นจำนวนจริงใดๆ
สมบัติ
การบวก
การคูณ
ปิด
 a+b €   Rab  €   R
การสลับที่
a+ b = b+aab = ba
การเปลี่ยนหมู่
(a+b)+c = a+(b+c)(ab)= a(bc)
การมีเอกลักษณ์
มีจำวนจริง 0 ซึ่ง0+a = a= a+0มีจำนวนจ1 a = a= a  1 ริงซึ่ง 1 ซึ่ง
เรียก 0ว่าเอกลักษณ์เรียก 1 ว่าเอกลักษณ์
การมีอินเวอร์ส
สำหรับจำนวนจริง aจะมีจำนวนจริง –a  โดยที่ (-a)+a = 0 = a+(-a) เรียก –a ว่าอินเวอร์ส การบวกจำนวนจริงของ aเรียก 1 ว่าเอกลักษณ์การคูณสำหรับจำนวนจริง a ที่ a   0
จะมีจำนวนจริง a  โดยที่ a
a = 1 = a   a  เรียก a  ว่าอินเวอร์สการคูณของจำนวนจริง a    
การแจกแจง
A(a+b= ab+ac


ทฤษฎีบท 1 กฎการตัดออกสำหรับการบวก
                   เมื่อ ,เป็นจำนวนจริงใดๆ
(1)      ถ้า a+b = b+c แล้ว = b
(2)       ถ้า a+b = a+c แล้ว b = c


ทฤษฎีบท 2 กฎการตัดออกสำหรับการคูณ
                   เมื่อ ,b, c เป้นจำนวนจริงใดๆ
(1)      ถ้า ac = bc และ  0 แล้ว a = b
(2)      ถ้า ab = ac และ  0 แล้ว b = c

ทฤษฎีบท 3
                    เมื่อ เป็นจำนวนจริงใด ๆ  a •  0 = 0

ทฤษฎีบท 4
                   เมื่อ เป็นจำนวนจริงใดๆ (-1) a = -a
ทฤษฎีบท 5
                   เมื่อ a, b เป็นจำนวนจริงใด ๆ  ถ้า ab = 0 แล้ว
                   a = 0 หรือ  b = 0

ทฤษฎีบท 6
                   เมื่อ a b เป็นจำนวนจริงใดๆ
1.            (-b)  = -ab
2.             (-a)b =  -ab
3.            (-a)(-b) =  ab
   
การลบและการหารจำนวนจริง

บทนิยาม
                   เมื่อ a b เป็นจำนวนจริงใดๆ
                   a-b = a+(-b)

ทฤษฎีบท 7
                   ถ้า ,,ป็นจำนวนจริงแล้ว
                   1. (b-c)   =  ab – ac
                   2. (a-b)c    =  ac – bc
                   3. (-a)(b-c)  =  -ab + ac

บทนิยาม
                   เมื่อ a, b เป็นจำนวนจริงใดๆ ที่  b = 0
                                                = a( b )

ทฤษฎีบท 8
                   ถ้า  0 จะได้  a   0

ทฤษฎีบท 9
                 1.                     =                                       เมื่อ ,c = 0
1.                                                                         =                                        เมื่อ c = 0
2.                                                                         =                                        เมื่อb, d = 0
3.                                                                         =                                        เมื่อ bd = 0
4.                                                                          =                                       เมื่อ c = 0
5.                                                                         =                                        เมื่อ c = 0

6.                                                                         =                                        เมื่อ cd = 0

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ผลงานบทเรียนออนไลน์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้อง 4 ผลงานบทเรียนออนไลน์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ห้อง 4 ณัฐวัฒน์  ณะคงค์ ทินภัทร  ห...